ททท. ยื่นหนังสือถึงสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขอให้ตรวจสอบโรงแรม และร้านค้า ในโครงการ ‘เราเที่ยวด้วยกัน’ หลังพบว่าเข้าข่ายทุจริตกว่า 500 แห่ง วานนี้ (16 ธ.ค.) นายยุทธศักดิ์ สุภสร ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ยื่นหนังสือและรายชื่อผู้ประกอบการที่เข้าค่ายทุจริตโครงการ ‘เราเที่ยวด้วยกัน’ ถึง พล.ต.อ. ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เพื่อให้ทางเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูล
สืบเนื่องจากโครงการเราเที่ยวด้วยกัน
มีผู้ใช้สิทธิจองห้องพักครบ 5 ล้านห้อง ภายในเวลาอันรวดเร็ว แต่หลังจากตรวจสอบ กลับพบว่ามีโรงแรมต้องสงสัยว่าทุจริต 312 ราย และร้านค้าอีกประมาณ 202 ราย ไม่ว่าจะเป็นการเช็คอินเข้าพักในโรงแรมราคาถูก แต่ไม่ได้เข้าพักจริง,โรงแรมขึ้นราคาห้องพัก โดยร่วมมือกับร้านค้าที่รับชำระคูปอง หรือ โรงแรมเปิดขายห้องพักเกินจำนวนที่มีอยู่จริง เป็นต้น
โดยนายยุทธศักดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า การยื่นเอกสารครั้งนี้ ทำเพื่อให้เกิดความโปร่งใส และป้องกันการทำผิดในการขยายจำนวนและการใช้สิทธิของ เราเที่ยวด้วยกัน เฟส 2 นั่นเอง
จ่ายเงินชดเชยประกันรายได้เกษตรกร งวด 6 – 17 ธันวาคม 2563 เวลา 8.00 น.นางมัลลิกา บุญมีตระกูล มหาสุข ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง กำหนดราคาเกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2563/64 งวดที่ 6 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 ตามนโยบายประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว หรือโครงการประกันรายได้ชาวนาปี2
โดยนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ โดยทางกระทรวงพาณิชย์ได้ออกประกาศราคาเกณฑ์กลางอ้างอิงตามโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2563/64 งวดที่ 6 สำหรับเกษตรกรที่เก็บเกี่ยวระหว่างวันที่ 7-13 ธันวาคม 2563 ดังนี้ คือ
1.ข้าวเปลือกหอมมะลิ เกณฑ์กลางตันละ 12,212.42 บาท ชดเชยตันละ 2,727.58 บาท ได้รับชดเชยสูงสุดครัวเรือนละ 38,186.12 บาท
2.ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ เกณฑ์กลางตันละ 11,800.74 บาทชดเชยตันละ 2,199.26 บาท ได้รับชดเชยสูงสุดครัวเรือนละ 35,188.14 บาท
3. ข้าวเปลือกเจ้า เกณฑ์กลางตันละ 9,215.15 บาท ชดเชยตันละ 784.85 บาท ได้รับชดเชยสูงสุดครัวเรือนละ 23,545.50 บาท
4.ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี เกณฑ์กลางตันละ 10,182.17 บาท ชดเชยตันละ 817.83 บาท ได้รับชดเชยสูงสุดครัวเรือนละ 20,445.75 บาท
5.ข้าวเปลือกเหนียว เกณฑ์กลางตันละ 11,246.87 บาท ชดเชยตันละ 753.13 บาท ได้รับชดเชยสูงสุดครัวเรือนละ 12,050.080 บาท
5 จุดสังเกต ธนบัตรที่ระลึก มูลค่า 100 บาท
ทางธนาคารแห่งประเทศไทยได้ทำการออกประกาศแสดง จุดสังเกต ด้วยกันทั้ง 5 จุด ในการพิสูจน์ว่า ธนบัตรที่ระลึก มูลค่า 100 บาท ที่ถือครองอยู่นั้นเป็นของจริงหรือไม่
ธนบัตรที่ระลึก เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 มีลักษณะต่อต้านการปลอมแปลงตามมาตรฐานขั้นสูง ในระดับเดียวกับธนบัตรหมุนเวียนตามปกติ เช่นเดียวกันกับธนบัตรที่ระลึกในอดีต ประชาชนจึงมั่นใจได้ถึงความปลอดภัยต่อการถูกปลอมแปลงและสามารถนำไปใช้จ่ายหมุนเวียนได้ตามปกติเช่นเดียวกับธนบัตรทุกรุ่น โดยจะมี จุดสังเกต ด้วยกันทั้งหมด 5 จุด ได้แก่
1.ตัวเลขแจ้งชนิดราคา – ที่จะใช้งานตัวอักษรที่มีความเฉพาะตัว และบ่งบอกมูลค่าที่ชัดเจน
2.ลายน้ำของธนบัตร – โดยตัวธนบัตรนั้นจะมีลายน้ำที่เป็นตัวเลขแจ้งชนิดของธนบัตรอยู่
3.แถบสี – ธนบัตรจะมีแถบสีที่จะเป็นสีม่วงแดง และจะสลับเป็นสีเขียวได้
4.พระตรา – พระตราของธนบัตรที่ระลึกนี้จะมีความแตกต่างไปจากธนบัตรที่ใช้งานปกติ
5.ลายดอกพิกุล และตัวเลขแจ้งชนิดมูลค่า – ด้านในของลายดอกนั้นจะมีตัวเลข 100 ที่บอกมูลค่าอยู่ และเมื่อทำการพลิกไปมานั้นตัวดอกจะเปลี่ยนสีได้ จากสีทองเป็นสีเขียว
โดยตามแผนภาพนั้นทาง ธปท. ได้ทำการเปลี่ยบเทียบกับธนบัตรปกติที่มีมูลค่า 1,000 บาท ให้เห็นว่าทั้งสองชนิดนั้น ถึงแม้จะมีความคล้ายคลึงกันในแบบผิวเผิน แต่ก็มีลักษณะที่ต่างกันอยู่
นับเป็น “ภูมิปัญญาของแผ่นดิน” ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดลที่ได้สร้างสรรค์องค์ความรู้เพื่อประโยชน์ต่อประชาชน และประเทศชาติได้อย่างแท้จริง
บทสรุปของเรื่องนี้คือ : การแท้งทารกหรือการเกิดความผิดปกติของทารก ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากเครื่องวิทยุคมนาคม เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ และเสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีความถี่ระดับต่ำจึงไม่มีผลต่อทารกในครรภ์
หน่วยงานที่ตรวจสอบ : สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป